วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 12

ความรู้ที่ได้รับ ( Knowledge )

   สัปดาห์นี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับการเขียนแผนการจจัดประสบการณ์วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งได้ข้อมูลตัวอย่าง ดังนี้

ตัวอย่างการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1. สาระ
2. เนื้อหา
3. แนวคิด
4. ประสบการณ์สำคัญ
5.บูรณาการรายวิชา
6. Wed กิจกรรม ( 6 กิจกรรม )

- กิจกรรมเสริมประสบการณ์
วันจันทร์           ชนิด
วันอังคาร          ลักษณะ
วันพุธ               ประโยชน์ ข้อควรระวัง
วันพฤหัสบดี     การแปรรูป
วันศุกร์              การขยายพันธุ์ การดูแลรักษา

- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ           เต้นเพลงสับปะรด
- กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์                    ผลไม้ในตะกร้า
- กิจกรรมเสรี ( การเล่นตามมุม )           ร้านขายสับปะรด
- กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง                  ปิดตาตีสับปะรด
- กิจกรรมเกมการศึกษา                        เรียงลำดับสับปะรด

7. กรอบพัฒนา
8. วัตถุประสงค์
   8.1 บอกชือชนิด
   8.2 อธิบายลักษณะ เช่น สี พื้นผิว
   8.3 บอกประโยชน์และข้อควรระวัง สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม ( เล่านิทาน )
   8.4 เด็กบอกและสรุปขั้นตอนการทำได้
   8.5 เด็กบอกและสรุปขั้นตอนการขยายพันธุ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้

สาระที่ควรเรียนรู้

1. ธรรมชาติรอบตัว
2. สถานที่ บุคคล
3. ตัวเด็ก ตัวฉัน
4. สิ่งต่างๆรอบตัว



สิ่งที่นำไปพัฒนา ( Applications )

   สามารถนำความรู้ที่ได้จากตัวอย่างการเขียนแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ไปใช้เป็นแนวทางในการเขียนแผนการสอนจริงได้อย่างถูกต้อง ทั้งยังรู้รูปแบบการทำ การลำดับเนื้อหาต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากกับว่าที่คุณครูปฐมวัย

การประเมินผล ( Evaluation )

ตนเอง    : ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์นำมาอธิบายซึ่งเป็นข้อมูลที่มีประโยชน์มากต่อการเขียนแผน ฟังแล้วมีการจดบันทึกรูปแบบตัวอย่าง เพื่อเป็นข้อมูล แนวทางในการเขียนแผนต่อไปได้อย่างถูกต้อง

เพื่อน     :  ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบาย มีคำถามในสิ่งที่ไม่เข้าใจ ไม่สงเสียงดังรบกวนผู้อื่น มีการจดบันทึกเนื้อหาความรู้ที่ตนเองเข้าใจ

อาจารย์  :  อาจารย์นำเอาข้อมูลที่เป็นประโยนช์แก่การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ววิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยมาอธิบาย และสอนให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจมากขึ้น นักศึกษาก็ได้ความรู้และแนวทางที่ถูกต้องไปปรับใช้ในการเรียนการสอนต่อไป



      




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น